Proptech สร้างประโยชน์ ทั้งต่อผู้บริโภค และผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย

Proptech ช่วยอำนวยควำมสะดวกต่อผู้บริโภค ตั้งแต่กำรค้นหำที่อยู่อำศัย กำรซื้อ/เช่ำ/ลงทุน กำรอยู่อำศัย ไปจนถึงบริกำรหลังกำรขำย ขณะเดียวกัน Proptech ก็เข้ำมำมีบทบำทช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรประกอบธุรกิจของผู้ประกอบกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยมำกขึ้นด้วย ทั้งกำรทำกำรตลำดนำเสนอโครงกำรผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ รวมถึงใช้บริกำรแพลตฟอร์มตัวแทนจับคู่นำยหน้ำกับผู้ประกอบกำร นอกจำกนี้ ยังพัฒนำสมำร์ตโฮม และใช้ แอปพลิเคชันบริหำรจัดกำรสิ่งอำนวยควำมสะดวกภำยในโครงกำรที่อยู่อำศัยอีกด้วย

การทาธุรกรรมผ่านทางออนไลน์ และสังคมผู้สูงอายุ หนุนการนา Proptech มาใช้มากขึ้น

กำรทำธุรกรรมด้ำนที่อยู่อำศัยผ่านทำงออนไลน์ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ในช่วง COVID-19 ที่เร่งตัวขึ้น เป็นปัจจัยผลักดันให้ผู้ประกอบกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยนำ Proptech มำใช้หลำกหลำยด้ำน และครอบคลุมทั้ง Ecosystem ของตลำดที่อยู่อำศัยมำกขึ้น ตั้งแต่กำรค้นหำที่อยู่อำศัย กำรเข้าชมโครงกำรแบบ Virtual viewing กระบวนกำรซื้อ กำรทำกำรตลำดเชิงรุกผ่านแพลตฟอร์มต่ำง ๆ ตลอดจนกำรทำธุรกรรมทำงกำรเงินออนไลน์ อย่ำงไรก็ตำม ข้อจำกัดของกำรทำธุรกรรมด้ำนที่อยู่อำศัยผ่านทำงออนไลน์ยังมีอยู่มำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ด้ำนกฎระเบียบ ซึ่งหำกมีกำรผ่อนคลำยกฎระเบียบในกำรทำธุรกรรมมำกขึ้น ก็จะยิ่งหนุนให้กำรทำธุรกรรมด้ำนที่อยู่อำศัยมีแนวโน้มที่จะเป็นกำรทำธุรกรรมผ่านทำงออนไลน์แบบ End-to-end transaction1 ผ่าน Proptech ได้ในระยะข้างหน้ำ

นอกจำกนี้ กำรเข้าสู่สังคมผู้สูงอำยุเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่หนุนให้กำรใช้ Proptech มีแนวโน้มขยำยตัวมำกขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งสมำร์ตโฮม เพื่อสร้ำงควำมควำมสะดวกสบำย เสริมสร้ำงสภำพแวดล้อมให้เหมำะสม และยกระดับควำมปลอดภัยสำหรับผู้สูงอำยุในด้ำนต่ำง ๆ โดยนำระบบอัตโนมัติ เซนเซอร์ และกำรแจ้งเตือนมำใช้ เพื่อตอบโจทย์กำรอยู่อำศัยมำกขึ้น

การนา Proptech มาแก้ปัญหาสาหรับผู้อยู่อาศัยได้อย่างเฉพาะเจาะจง จะช่วยสร้างความแตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น

ควำมต้องกำรหรือปัญหำของผู้อยู่อำศัยแต่ละกลุ่มมีควำมแตกต่ำงกันไป ยกตัวอย่ำงเช่น กำรพัฒนำระบบอัตโนมัติ เซนเซอร์ และกำรแจ้งเตือนสำหรับผู้สูงอำยุ ก็จะมีควำมแตกต่ำงจำกครอบครัวที่มีเด็กเล็ก หรือสัตว์เลี้ยง ดังนั้น กำรวิเครำะห์ควำมต้องกำรหรือปัญหำในเชิงลึกของผู้อยู่อำศัย และใช้ Proptech มำตอบโจทย์ หรือแก้ปัญหำสำหรับผู้อยู่อำศัยได้อย่ำงเฉพำะเจำะจง ภำยใต้ Ecosystem และกฎระเบียบต่ำง ๆ จะช่วยสร้ำงควำมแตกต่ำงจำกผู้ประกอบกำรรำยอื่น ๆ และจะเป็นปัจจัยแห่งควำมสำเร็จในกำรขำยที่อยู่อำศัย ท่ามกลำงกำรแข่งขัน ในตลำดที่อยู่อำศัยที่ยังคงรุนแรงในระยะข้างหน้ำ

Proptech สร้างประโยชน์ต่อตลาดที่อยู่อาศัยอย่างไร ?

Proptech ช่วยอานวยความสะดวกต่อผู้บริโภค ตั้งแต่การค้นหาที่อยู่อาศัย การซื้อ/เช่า/ลงทุน การอยู่อาศัย ไปจนถึงบริการหลังการขาย ขณะเดียวกัน Proptech ก็เข้ามามีบทบาทช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยมากขึ้นด้วย โดย Property Technology (Proptech) คือ นวัตกรรม หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์, แพลตฟอร์ม, แอปพลิเคชัน, Digital solution ที่เข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพ และช่วยอานวยความสะดวกในกิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ทั้งที่อยู่อาศัย และอสังหาริมทรัพย์ เชิงพาณิชย์ ตั้งแต่การก่อสร้าง การซื้อ/เช่า/ลงทุน การอยู่อาศัย การใช้พื้นที่ ไปจนถึงการบริหารจัดการ

ในส่วนของตลาดที่อยู่อาศัย Proptech เข้ามามีบทบาทช่วยอานวยความสะดวกต่อผู้บริโภค ตั้งแต่

1) การค้นหาที่อยู่อาศัย ในรูปแบบแพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น การรวบรวมข้อมูลการประกาศขาย/ให้เช่าที่อยู่อาศัย ตัวแทนจับคู่นายหน้ากับผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย การทาการตลาดของผู้ประกอบการ รวมถึงการเข้าชมโครงการที่อยู่อาศัยแบบ Virtual viewing

2) กระบวนการซื้อ/เช่า/ลงทุน ทั้งแพลตฟอร์มที่เป็นตัวแทนจับคู่ผู้ที่ต้องการซื้อ/เช่าที่อยู่อาศัย กับเจ้าของที่อยู่อาศัย โดยไม่ผ่านนายหน้า การบริหารจัดการด้านการเช่า ไปจนถึงการอานวยความสะดวกในการทาธุรกรรมทางการเงิน เช่น การกู้เงิน การประเมินมูลค่าที่อยู่อาศัย

3) การอยู่อาศัย โดยเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมาร์ตโฮม เช่น ระบบอัตโนมัติ การสั่งการด้วยเสียง การควบคุมระบบต่าง ๆ ทั้งจากภายใน และภายนอกที่อยู่อาศัยผ่านอุปกรณ์ต่าง ๆ

และ 4) บริการหลังการขาย ทั้งการบริหารจัดการ สิ่งอานวยความสะดวกภายในโครงการที่อยู่อาศัย บริการซ่อมแซม บารุงรักษา ติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ บริการทาความสะอาด รับ/ส่งพัสดุ ไปจนถึงประกันภัยที่อยู่อาศัย

ปัจจุบัน วงการ Proptech ในต่างประเทศมีความคึกคัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในปี 2021 มีผู้ประกอบการ Proptech ด้านที่อยู่อาศัยถึง 1,340 ราย2 ตัวอย่างที่สาคัญ ได้แก่ Zillow ซึ่งเป็น แพลตฟอร์ม ด้านอสังหาริมทรัพย์ที่ครบวงจร ทั้งบริการซื้อ/ขาย/เช่าที่อยู่อาศัย ไปจนถึงการพิจารณาสินเชื่อ ที่มีการเชื่อมโยงผู้เล่นในตลาดหลากหลายกลุ่ม ทั้งผู้ซื้อ ผู้ขาย ผู้เช่าที่อยู่อาศัย นักลงทุน ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย และนายหน้า ทั้งนี้ Zillow เป็นแพลตฟอร์ม ที่มีการวิเคราะห์ Big Data และใช้ Artificial Intelligence (AI) คาดการณ์พฤติกรรมของซื้อ ผู้ขาย ผู้เช่าที่อยู่อาศัย และนักลงทุน รวมถึงมีการพัฒนาระบบการจับคู่ความต้องการที่อยู่อาศัย กับเจ้าของที่อยู่อาศัยได้เฉพาะเจาะจง ส่งผลให้ Zillow เป็นแพลตฟอร์มด้านอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับความนิยมในการใช้บริการเป็นลาดับต้น ๆ ในสหรัฐอเมริกา โดยมีอสังหาริมทรัพย์กว่า 135 ล้านรายการอยู่ในฐานข้อมูล มีผู้ชมเว็บไซต์ โดยเฉลี่ย 36 ล้านครั้ง/เดือน และมียอด ดาวน์โหลดแอปพลิเคชันผ่าน Google Play มากกว่า 10 ล้านครั้ง 3

สาหรับตลาดที่อยู่อาศัยในไทยนั้น ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยก็มีการนา Proptech มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจ และอานวยความสะดวกสาหรับผู้ซื้อ ผู้ขาย และผู้เช่าที่อยู่อาศัยบ้างแล้ว ทั้งการทาการตลาดนาเสนอ

โครงการที่อยู่อาศัยผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ รวมถึงยังใช้บริการแพลตฟอร์มตัวแทนจับคู่นายหน้ากับผู้ประกอบการ เพื่อใช้บริการนายหน้าที่มีความเชี่ยวชาญในการขายโครงการที่อยู่อาศัย และมีฐานผู้ซื้อที่อยู่อาศัยเซกเมนต์ต่าง ๆ โดยผู้ซื้อ/ผู้เช่าที่อยู่อาศัยก็ได้มีการใช้แพลตฟอร์มรวบรวมข้อมูลการประกาศขาย/ให้เช่าที่อยู่อาศัย เป็นช่องทางในการค้นหาข้อมูลที่อยู่อาศัย ในทาเล และระดับราคาต่าง ๆ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังพัฒนาสมาร์ตโฮม และใช้แอปพลิเคชันบริหารจัดการ สิ่งอานวยความสะดวกภายในโครงการที่อยู่อาศัยอีกด้วย

ทั้งนี้การใช้ชีวิตประจาวันของผู้บริโภคในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่หลากหลาย อีกทั้ง เทคโนโลยีบางกลุ่ม ยังมีความทับซ้อนกันกับ Proptech ส่งผลให้ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มให้ความสาคัญกับการขยายขอบเขตไปสู่การลงทุน หรือการสร้างความร่วมมือเป็นพันธมิตรกับผู้ให้บริการเทคโนโลยีอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ทาให้เกิดการผสมผสานนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น Construction tech ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย Health & Wellness tech ที่ช่วยอานวยความสะดวกด้านสุขภาพสาหรับผู้อยู่อาศัย Internet of Things (IoTs) ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของสมาร์ตโฮมไปจนถึงฟินเทคที่จะมาช่วยอานวยความสะดวกในการชาระค่าที่อยู่อาศัย และค่าบริการต่าง ๆ เพื่อพัฒนา Digital solution ที่ช่วยอานวยความสะดวกสาหรับผู้อยู่อาศัยได้อย่างครบวงจร

นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มนาเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิเคราะห์ Big Data ที่เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาที่อยู่อาศัยเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในเชิงลึก ของผู้อยู่อาศัย การประเมินราคา การวิเคราะห์โอกาสในการลงทุน ไปจนถึงการทาการตลาดไปยังผู้ซื้อที่อยู่อาศัยกลุ่มเป้าหมายในแพลตฟอร์มต่าง ๆ โดยใช้เกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น รูปแบบที่อยู่อาศัย อายุ รายได้ ทาเล ระดับราคา เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงซื้อที่อยู่อาศัยกลุ่มเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันขายโครงการ ที่อยู่อาศัยได้มากขึ้นในระยะต่อไป

เทรนด์การใช้ Proptech เร่งตัวขึ้นจากปัจจัยใดบ้าง?

การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่ยาวนาน ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่เป็น New normal เป็นปัจจัย เร่งให้ Proptech เข้ามามีบทบาทในตลาดที่อยู่อาศัยมากขึ้น การแพร่ระบาดของ COVID-19 ตั้งแต่ต้นปี 2020 ส่งผลกระทบต่อตลาดที่อยู่อาศัยอย่างมาก ทั้งกาลังซื้อที่หดตัวลงไปตามภาวะเศรษฐกิจ และข้อจากัดในการเยี่ยมชมโครงการที่อยู่อาศัยในช่วงที่การแพร่ระบาดเป็นไปอย่างรุนแรง ส่งผลให้ยอดขายที่อยู่อาศัยหดตัวลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2020 เป็นต้นมา สถานการณ์ดังกล่าว เป็นปัจจัยเร่งให้ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยปรับกลยุทธ์ โดยส่วนใหญ่ นา Proptech มาใช้มากขึ้น เพื่อให้การดาเนินธุรกิจยังสามารถดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งการทาการตลาดเชิงรุก ผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ และการให้บริการเข้าชมโครงการที่อยู่อาศัยแบบ Virtual viewing ที่นาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) และ Virtual Reality (VR) มาช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้เข้าชมโครงการ เพื่อเพิ่มโอกาสในการขาย ที่อยู่อาศัย ท่ามกลางข้อจากัดในการเข้าชมโครงการในช่วงที่การแพร่ระบาดเป็นไปอย่างรุนแรง โดยปัจจุบันเทคโนโลยี AR และ VR กลายเป็นบริการพื้นฐานที่โครงการที่อยู่อาศัยเปิดใหม่ส่วนใหญ่จะมีไว้เพื่ออานวยความสะดวกสาหรับผู้เข้าชมโครงการ ซึ่งสามารถช่วยกระตุ้นยอดขายที่อยู่อาศัยได้บางส่วน โดยตลาดที่อยู่อาศัยยังเผชิญแรงกดดันหลักจากกาลังซื้อ ที่หดตัวลงไปตามภาวะเศรษฐกิจเป็นหลัก

ทั้งนี้ EIC มองว่า การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่ยาวนาน และยังไม่มีแนวโน้มที่จะสิ้นสุดลง ส่งผลให้พฤติกรรมของผู้คนเปลี่ยนแปลงไป โดยเกิดพฤติกรรมที่เป็น New normal อย่างแนวโน้มที่ผู้คนใช้ชีวิตอยู่ภายในที่อยู่อาศัยมากขึ้น ทั้ง Work from home และการเรียนออนไลน์ ส่งผลให้ผู้อยู่อาศัยให้ความสาคัญกับความสะดวกสบาย ความปลอดภัย

และการประหยัดพลังงานภายในที่อยู่อาศัยมากขึ้น โดยเทคโนโลยีสมาร์ตโฮม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ ระบบอัตโนมัติ การสั่งการด้วยเสียง การควบคุมระบบต่าง ๆ ผ่านอุปกรณ์หลากหลายชนิดได้ จะเข้ามามีบทบาทตอบโจทย์การอยู่อาศัย ทั้งความสะดวกสบาย ความปลอดภัย และการประหยัดพลังงาน สอดคล้องกับภาพที่สมาร์ตโฮมได้กลายมาเป็นจุดขายสาคัญที่ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยต่างแข่งขันกันนาเสนอในการขายโครงการที่อยู่อาศัย

นอกจากนี้ การรักษาสุขอนามัย ที่ทาให้ผู้คนลดการสัมผัสพื้นผิวต่าง ๆ นอกที่อยู่อาศัย และเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จะส่งผลให้รูปแบบพื้นที่ส่วนกลางของโครงการที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไป โดยผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยจะมีการนาเทคโนโลยีที่ช่วยลดการสัมผัสพื้นผิว อย่างระบบเซนเซอร์ และระบบอัตโนมัติ มาใช้ในพื้นที่ส่วนกลางมากขึ้น รวมถึงแนวโน้มการที่ผู้คนใช้ชีวิตอยู่ภายในที่อยู่อาศัยมากขึ้น จะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้มีจานวนผู้อยู่อาศัยมาใช้บริการพื้นที่ส่วนกลางเพิ่มมากขึ้น เช่น Co-working space ห้องประชุม ฟิตเนส ผู้ประกอบการจึงมีแนวโน้มนาระบบการจอง และระบบการตรวจนับจานวนผู้ใช้บริการ มาใช้ในพื้นที่ส่วนกลาง เพื่อช่วยลดความหนาแน่นของผู้ใช้บริการด้วยเช่นกัน

ในระยะข้างหน้า แนวโน้มการทาธุรกรรมด้านที่อยู่อาศัยผ่านทางออนไลน์ที่เร่งตัวขึ้น เป็นปัจจัยหนุนให้มีการนา Proptech มาใช้หลากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากผู้ซื้อที่อยู่อาศัยกลุ่มใหม่ที่เป็น Millennials และ GenZ ที่เชื่อมโยงกับโลกดิจิทัลในระดับสูง EIC มองว่า แนวโน้มการทาธุรกรรมด้านที่อยู่อาศัยผ่านทางออนไลน์ที่เร่งตัวขึ้น เป็นปัจจัยผลักดันให้ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยนา Proptech มาใช้หลากหลายด้าน และครอบคลุมทั้ง Ecosystem ของตลาดที่อยู่อาศัยมากขึ้น ตั้งแต่การค้นหาที่อยู่อาศัย การเข้าชมโครงการแบบ Virtual viewing กระบวนการซื้อ การทาการตลาดเชิงรุกผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ ตลอดจนการทาธุรกรรมทางการเงินออนไลน์

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในระยะข้างหน้า ผู้บริโภคกลุ่มใหม่ที่จะเข้ามาเป็นกาลังซื้อสาคัญของตลาดที่อยู่อาศัยจะเป็น กลุ่ม Millennials (ผู้ที่เกิดปี 1983-1999) และกลุ่ม GenZ (ผู้ที่เกิดปี 2000-2006) โดยพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งสองกลุ่มนี้ จะเชื่อมโยงกับโลกดิจิทัลในระดับสูง ส่งผลให้การนาเทคโนโลยีเข้ามาอานวยความสะดวกในการใช้ชีวิตจะมีมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น การทาธุรกรรมจากกลุ่ม Millennials และกลุ่ม GenZ ในระยะข้างหน้า จะหนุนให้การใช้ Proptech มีแนวโน้มขยายตัวยิ่งขึ้น และอาจพัฒนาไปสู่การใช้ Proptech ตั้งแต่การค้นหาที่อยู่อาศัย ที่จะใช้แพลตฟอร์มรวบรวมข้อมูลการประกาศขาย/ให้เช่า ตัวแทนจับคู่ผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัย กับเจ้าของที่อยู่อาศัย โดยไม่ผ่านนายหน้า เพื่อค้นหาที่ยู่อาศัยในทาเล และระดับราคาที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างสูงสุด ไปจนถึงกระบวนการซื้อ ที่อยู่อาศัย ที่จะเข้าชมที่อยู่อาศัยแบบ Virtual viewing รวมถึงทาธุรกรรมทางการเงิน เช่น การกู้เงิน การประเมินมูลค่า ที่อยู่อาศัย ผ่าน Proptech ที่เป็นตัวกลางอานวยความสะดวกด้านธุรกรรมทางการเงินด้วยเช่นกัน

ในส่วนของการอยู่อาศัยนั้น กลุ่ม Millennials และกลุ่ม GenZ ก็มีแนวโน้มนา Proptech มาช่วยอานวยความสะดวกมากขึ้นด้วยเช่นกัน โดยการ Work from home และการเรียนออนไลน์ จะส่งผลให้กลุ่ม Millennials และกลุ่ม GenZ ใช้ชีวิตอยู่ภายในที่อยู่อาศัย และใช้บริการพื้นที่ส่วนกลางมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาสมาร์ตโฮมและการบริหารจัดการสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโครงการที่อยู่อาศัยผ่านแอปพลิเคชันที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตของผู้บริโภคทั้งสองกลุ่มนี้ เช่น ระบบการจอง Co-working space และห้องประชุม บริการรับ/ส่งพัสดุ บริการทาความสะอาด ตลอดจนการนา Proptech อื่น ๆ ที่หลากหลายมาช่วยอานวยความสะดวก และนามาเป็นจุดขายสาหรับโครงการที่อยู่อาศัย จะเป็นปัจจัยสาคัญ ที่สามารถดึงดูดการซื้อที่อยู่อาศัยจากกลุ่ม Millennials และกลุ่ม GenZ ได้ต่อไป

อย่างไรก็ตาม ข้อจากัดของการทาธุรกรรมด้านที่อยู่อาศัยผ่านทางออนไลน์ยังมีอยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎระเบียบ ซึ่งหากมีการผ่อนคลายกฎระเบียบในการทาธุรกรรมมากขึ้น ก็จะยิ่งหนุนให้การทาธุรกรรมด้านที่อยู่อาศัยมีแนวโน้ม ที่จะเป็นการทาธุรกรรมผ่านทางออนไลน์แบบ End-to-end transaction ผ่าน Proptech ได้ในระยะข้างหน้า

นอกจากนี้ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุก็เป็นหนึ่งปัจจัยสาคัญที่หนุนให้การใช้ Proptech มีแนวโน้ม ขยายตัวมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Smart home เพื่อเสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม และยกระดับความปลอดภัย ผู้สูงอายุก็เป็นอีกเซกเมนต์หนึ่ง ซึ่งเป็นผู้อยู่อาศัยกลุ่มใหญ่ ที่ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่ อาศัยให้ความสาคัญในยุคที่ไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการที่อยู่อาศัยที่เจาะกลุ่มครอบครัวที่อยู่ ร่วมกับผู้สูงอายุ และโครงการที่อยู่อาศัยที่เจาะกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉพาะ ซึ่งมีแนวโน้มนาเทคโนโลยีสมาร์ตโฮมมาให้บริการ เพื่อสร้างความความสะดวกสบาย เสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชีวิต และยกระดับความ ปลอดภัยสาหรับผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ เช่น อากาศ อุณหภูมิ แสงสว่าง โดยนาระบบอัตโนมัติ เซนเซอร์ และการแจ้ง เตือนมาใช้มากขึ้น นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังมีการสร้างความร่วมมือกับผู้ให้บริการทางการแพทย์ และมีการนา เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ (Healthtech) อย่าง Telemedicine มานาเสนอเป็นจุดขายสาหรับโครงการที่อยู่อาศัย กล่าวได้ว่า การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ก็เป็นหนึ่งปัจจัยสาคัญที่หนุนให้การใช้ Proptech มีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้นด้วยเช่นกัน

โอกาสการเติบโตของ Smart home เป็นไปในทิศทางใด?

นอกจากเทรนด์การเข้าถึงเทคโนโลยีของผู้บริโภคจะเป็นโอกาสให้ตลาด Smart home ในไทยยังมี โอกาสเติบโตได้อีกมากแล้ว ตลาด Smart home ยังได้รับปัจจัยหนุนจากการแข่งขันพัฒนา Smart home จากผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัในปี 2021 สัดส่วนการครอบครองอุปกรณ์สมาร์ตโฮมของคนไทย อยู่ที่ 4.8% ของจานวนประชากร ซึ่งยังเป็นสัดส่วนที่ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของทั้งโลก ที่สัดส่วนการครอบครองอุปกรณ์ สมาร์ตโฮมอยู่ที่ 13.5% ของจานวนประชากร โดยมูลค่าตลาดอุปกรณ์สมาร์ตโฮมของไทยอยู่ที่ 111.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 3,630 ล้านบาท ในจานวนนี้ ครึ่งหนึ่งเป็นมูลค่าเครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ รองลงมาเป็นระบบรักษาความปลอดภัย และอุปกรณ์ควบคุมและเชื่อมต่อต่าง ๆ ตามลาดับ

EIC มองว่า จากสัดส่วนการครอบครองอุปกรณ์สมาร์ตโฮมของคนไทยเมื่อเทียบกับจานวนประชากร ที่ยังอยู่ในระดับต่า เป็นโอกาสให้ตลาดสมาร์ตโฮมในไทยยังมีโอกาสขยายตัวได้อีกมากในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบอัจฉริยะต่าง ๆ ภายในที่อยู่อาศัย เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบพลังงาน ที่ผู้อยู่อาศัยสามารถสั่งการด้วยเสียง หรือควบคุมผ่านอุปกรณ์ เช่น สมาร์ตโฟน, สมาร์ตวอตช์ และแท็บเล็ต โดยราคาอุปกรณ์สมาร์ตโฮมและอุปกรณ์ควบคุมระบบต่าง ๆ ที่มีแนวโน้มลดต่าลง จะหนุนให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสมาร์ตโฮมดังกล่าวได้ง่ายขึ้น

นอกจากเทรนด์การเข้าถึงเทคโนโลยีของผู้บริโภคจะเป็นโอกาสให้ตลาดสมาร์ตโฮมในไทยเติบโตได้อีกมากในอนาคตแล้ว ตลาดสมาร์ตโฮมในไทยยังได้รับปัจจัยหนุนจากการแข่งขันพัฒนาสมาร์ตโฮมจากผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย โดยปัจจุบัน ผู้ประกอบการนาเทคโนโลยีสมาร์ตโฮมมาเป็นจุดขายสาคัญสาหรับโครงการที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็นการใช้ระบบ Automation ทั้งภายในที่อยู่อาศัย และพื้นที่ส่วนกลาง เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบความปลอดภัย ระบบประหยัดพลังงาน ระบบที่จอดรถอัตโนมัติ การนา Internet of Things (IoTs) มาใช้ควบคุมระบบต่าง ๆ ภายในที่อยู่อาศัย รวมถึงบันทึกข้อมูลการใช้งานอุปกรณ์ Smart device ภายในที่อยู่อาศัย เพื่อแจ้งเตือนความผิดปกติของอุปกรณ์ และแจ้งเตือนการซ่อมบารุง การนาหุ่นยนต์ Service robot มาช่วยอานวยความสะดวกสาหรับผู้อยู่อาศัย ไปจนถึงการบริหารจัดการสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโครงการที่อยู่อาศัยผ่านแอปพลิเคชันอีกด้วย

การแข่งขันพัฒนา Smart home จากผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย จะหนุนให้รูปแบบ Smart home ในไทยมีแนวโน้มกลายเป็นการเชื่อมโยงระบบต่าง ๆ เป็นเครือข่าย (Connected home) หรือควบคุมระบบต่าง ๆ ผ่านอุปกรณ์หลากหลายชนิด (Integrated home) มากขึ้น จากปัจจุบัน ที่เทคโนโลยีสมาร์ตโฮมในไทยส่วนใหญ่ยังเป็นการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ และการเชื่อมโยงหรือควบคุมระบบต่าง ๆ โดยผ่านอุปกรณ์ชนิดเดียว (Single device) ที่ผู้อยู่อาศัยสามารถดาเนินการติดตั้งได้เอง ทั้งนี้ EIC มองว่า การสร้างความร่วมมือเป็นพันธมิตรกับผู้ผลิตอุปกรณ์ Smart device จะช่วยเสริมสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันสาหรับผู้ประกอบการ ทั้งในด้านความเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภค เพื่อนามาสู่การพัฒนาสมาร์ตโฮมที่ตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้อยู่อาศัย รวมถึงการเข้าถึงฐานลูกค้าของผู้ผลิตอุปกรณ์ Smart device เพื่อทาการตลาดร่วมกัน

นอกจากนี้ การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ยังคงรุนแรง ท่ามกลางต้นทุนเทคโนโลยีสมาร์ตโฮม ที่มีแนวโน้มลดต่าลง ส่งผลให้ผู้ประกอบการต่างแข่งขันกันพัฒนาสมาร์ตโฮมเพื่อดึงดูดผู้ซื้อที่อยู่อาศัย และสร้างความคุ้มค่าในสายตาผู้ซื้อที่อยู่อาศัย ในระดับที่สมาร์ตโฮมจะมีแนวโน้มกลายเป็นมาตรฐานของโครงการที่อยู่อาศัยเปิดใหม่ระดับปานกลางมากขึ้นต่อไป จากที่ปัจจุบันสมาร์ตโฮมในไทยส่วนใหญ่ยังจากัดอยู่ที่โครงการที่อยู่อาศัยระดับบน ทั้งนี้ EIC มองว่า การพัฒนาสมาร์ตโฮมสาหรับที่อยู่อาศัยระดับราคาปานกลางลงมา ก็ยังเป็นโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ สาหรับผู้ประกอบการในระยะข้างหน้า โดยหากผู้ประกอบการรายใดสามารถบริหารจัดการต้นทุนการพัฒนาสมาร์ตโฮมสาหรับ ที่อยู่อาศัยระดับราคาปานกลางลงมา และสามารถเจาะตลาดผู้ซื้อที่อยู่อาศัยได้ ก็จะมีความได้เปรียบในการขยายฐานลูกค้าผู้ซื้อที่อยู่อาศัยกลุ่มดังกล่าว ซึ่งเป็นตลาดผู้ซื้อที่อยู่อาศัยกลุ่มใหญ่ได้ก่อน

โอกาส และความท้าทายของ Proptech ไทยมีอะไรบ้าง ?

ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับต่าเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ แม้การ แพร่ระบาดของ COVID-19 ที่ยาวนาน และยังไม่มีแนวโน้มที่จะสิ้นสุดลง จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่เป็น New normal และเป็นปัจจัยเร่งให้เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในภาคอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น แต่หากเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ แล้ว ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับต่า เนื่องจากภาคอสังหาริมทรัพย์ยังเป็นอุตสาหกรรมดั้งเดิม ที่พึ่งพาการใช้แรงงานอย่างเข้มข้น โดยผลสารวจผู้เกี่ยวข้องในภาคอสังหาริมทรัพย์กลุ่มต่าง ๆ ในประเทศกลุ่ม Asia Pacific จากรายงาน Tech Adoption in ASIAN Real Estate ในปี 2020 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ 77% มองว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีน้อยกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ รองลงมา กลุ่มตัวอย่าง 14% มองว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีใกล้เคียงกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ และมีกลุ่มตัวอย่างเพียง 7% มองว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี มากกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ โดยเทคโนโลยีที่กลุ่มตัวอย่างคาดว่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยจะมีการนามาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจ และอานวยความสะดวกสาหรับผู้อยู่อาศัย ภายในระยะ 5 ปี ข้างหน้า ได้แก่ Big data analytics, AI, Business process automation และ IoTs ตามลาดับ

หมายเหตุ : *สารวจจากผู้ที่เกี่ยวข้องในภาคอสังหาริมทรัพย์กลุ่มต่าง ๆ เช่น ผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้ประกอบการด้านสถาปัตยกรรม ออกแบบ และวิศวกรรม บริษัทที่ปรึกษาด้านอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุน ในประเทศกลุ่ม Asia Pacific จานวน 180 ราย

ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Tech Adoption in Asian Real Estate โดย Mingtiandi

การพัฒนาและการใช้ Proptech ในตลาดที่อยู่อาศัยจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้ เป็นวงกว้าง ไม่เพียงแต่เฉพาะตลาดที่อยู่อาศัยเท่านั้น แต่ยังสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ใน Supply chain ของตลาดที่อยู่อาศัย เช่น รับเหมาก่อสร้างภาคเอกชน เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ดี ปัจจุบัน การพัฒนาและการใช้ Proptech ในตลาดที่อยู่อาศัยของไทย มีแรงขับเคลื่อนมาจากเทรนด์การเข้าถึง เทคโนโลยีจากผู้บริโภค และการแข่งขันของผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ลงทุนใน Proptech หรือสร้างความร่วมมือเป็น พันธมิตรกับผู้ประกอบการ Proptech เป็นหลัก ขณะที่ความท้าทายของตลาด Proptech ไทยอยู่ที่การมีผู้ประกอบการ Proptech จานวนไม่มากนัก เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ ส่งผลให้ผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยมักจะลงทุนใน Proptech หรือสร้างความร่วมมือเป็นพันธมิตรกับผู้ประกอบการ Proptech จากต่างประเทศมากกว่า ดังนั้น การเร่งสร้าง Ecosystem ให้เอื้อต่อการพัฒนา Proptech ในไทยจึงเป็นประเด็นสาคัญที่ต้องพิจารณา ทั้งนี้ภาครัฐอาจมีบทบาทในการ พัฒนาผู้ประกอบการ Proptech และกระตุ้นการใช้ Proptech ผ่านมาตรการต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมการลงทุน และการจัดหา แหล่งเงินทุนสาหรับสตาร์ตอัป การลดภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ลงทุนในสตาร์ตอัป ด้าน Proptech ของไทย การส่งเสริมการลงทุน และลดภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง

ความต้องการหรือปัญหาของผู้อยู่อาศัยแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันไป การนา Proptech มาตอบโจทย์ หรือแก้ปัญหาสาหรับผู้อยู่อาศัยได้อย่างเฉพาะเจาะจง จะช่วยสร้างการความแตกต่างจากผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัยรายอื่น ๆ ในส่วนของผู้ประกอบการพัฒนาที่อยู่อาศัย อาจชูจุดขายด้านการใช้ Proptech ทั้งภายในที่อยู่อาศัย และพื้นที่ส่วนกลาง ที่นามาซึ่งความสะดวกสบาย การยกระดับความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อม ไปจนถึงการช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ซึ่งจะสร้างความคุ้มค่าในสายตาผู้ซื้อที่อยู่อาศัย และจะช่วยกระตุ้นให้ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ ความต้องการหรือปัญหาของผู้อยู่อาศัยแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาระบบอัตโนมัติ เซนเซอร์ และการแจ้งเตือนสาหรับผู้สูงอายุ ก็จะมีความแตกต่างจากครอบครัวที่มีเด็กเล็ก หรือสัตว์เลี้ยง ดังนั้น การวิเคราะห์ความต้องการหรือปัญหาในเชิงลึกของผู้อยู่อาศัย และใช้ Proptech มาตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาสาหรับผู้อยู่อาศัยได้อย่างเฉพาะเจาะจง ภายใต้ Ecosystem และกฎระเบียบต่าง ๆ จะช่วยสร้างความแตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น ๆ และจะเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จในการขายที่อยู่อาศัย ท่ามกลางการแข่งขันในตลาดที่อยู่อาศัยที่ยังคงรุนแรงในระยะข้างหน้า

บทวิเคราะห์โดย : https://www.scbeic.com/th/detail/product/8127